เป้าหมายรายสัปดาห์ : เข้าใจและสามารถอธิบายประเภทขอสารอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกายได้
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
5 – 6
9 – 20
มิ.ย. 2557
|
โจทย์
ประเภทของสารอาหาร / วิธีการตรวจสอบสารอาหาร
Key Questions
- นักเรียนคิดว่าอาหารมื้อเช้าที่นักเรียนทานบ่อยที่สุด เป็นเมนูใด
- ในเมนูอาหารที่นักเรียนเลือกมีสารอาหารอะไรเป็นองค์ประกอบ
- นักเรียนคิดว่าเราสามารถตรวจสอบสารอาหาร ที่มีอยู่ในอาหารได้อย่างไร
เครื่องมือคิด
Show and Share
นำเสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับประเภทของอาหารและการตรวจสอบสารอาหาร
Mind Mapping
ประเภทของอาหารและการตรวจสอบสารอาหาร
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- - คอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ต
- เมนูอาหารมื้อเช้า
|
จันทร์
ชง : ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนคิดว่าอาหารมื้อเช้าที่นักเรียนทานบ่อยที่สุด เป็นเมนูใด?”
เชื่อม : นักเรียนแต่ละคนร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ
เมนูอาหารมื้อเช้า
- นักเรียนแต่ละคนเลือกเมนูอาหารที่ตนเองทานบ่อยที่สุดคนละ 1 เมนู พร้อมบันทึกลงในสมุดเล่มเล็ก
อังคาร
ชง : ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “ในเมนูอาหารที่นักเรียนเลือกมีสารอาหารอะไรเป็นองค์ประกอบ?”
เชื่อม : นักเรียนแต่ละค้นสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับสารอาหารที่อยู่ในอาหาร
- แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มกลุ่มละเท่าๆ กัน
ใช้: นักเรียนแต่ละกลุ่มนำข้อมูลที่ได้จากการสืบค้นมาร่วมวิเคราะห์ และสรุปเพื่อนำเสนอข้อมูลตามรูปแบบต่างๆ อาทิเช่น Mind Mapping, ชาร์ตความรู้, การ์ตูนช่อง ฯลฯ
พุธ
เชื่อม: นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอข้อมูลให้เพื่อนและคุณครูร่วมตั้งคำถามและแสดงความคิดเห็น
ชง : ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนคิดว่าเราสามารถตรวจสอบสารอาหาร ที่มีอยู่ในอาหารได้อย่างไร?”
เชื่อม : นักเรียนแต่ละคนร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับวิธีตรวจสอบสารอาหาร
- - นักเรียนแต่ละกลุ่มสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับวิธีการตรวจสอบสารอาหาร(สารอาหาร 5 หมู่)
ศุกร์
- ใช้: นักเรียนแต่ละคนนำเสนอข้อมูลที่ได้สืบค้นเกี่ยวกับวิธีการตรวจสอบสารอาหาร
- เชื่อม : ครูและนักเรียนร่วมอภิปรายสิ่งที่ได้เรียนรู้ เกี่ยวกับสารอาหารและการตรวจสอบสารอาหารประเภทต่างๆ
- นักเรียนเขียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
- สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับสารอาหารที่อยู่ในอาหาร
- - สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับวิธีการตรวจสอบสารอาหาร(สารอาหาร 5 หมู่)
- - นำเสนอข้อมูลที่ได้สืบค้นเกี่ยวกับสารอาหารที่อยู่ในอาหารและวิธีการตรวจสอบสารอาหาร
ชิ้นงาน
- Mind Mapping, ชาร์ตความรู้, การ์ตูนช่อง เกี่ยวกับสารอาหารประเภทต่างๆ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
เข้าใจและสามารถอธิบายประเภทขอสารอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกายได้
ทักษะ
ทักษะการวางแผน
การวางแผนในการทำงานกลุ่มเกี่ยวกับสารอาหารและการตรวจสอบสารอาหาร
ทักษะการเลือกใช้เครื่องมือ
การเลือกใช้เครื่องมือคิดที่หลากหลายในกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน
ทักษะICT
สืบค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับสารอาหารและการตรวจสอบสารอาหาร
ทักษะการสื่อสาร
นำเสนอชิ้นงานเกี่ยวกับสารอาหารและการตรวจสอบสารอาหาร
ทักษะการเรียนรู้
- สามารถเรียนรู้และเชื่อมโยงเรื่องเกี่ยวกับการแยกประเภทขอสารอาหารที่ศึกษากับชีวิตประจำวันของตนเองได้
- สามารถวิเคราะห์และจำแนกประเภทของสารอาหารที่มีอยู่ในอาหารแต่ละประเภทได้
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์และนำเสนอข้อมูลที่สืบค้นในรูปแบบชิ้นงานที่หลากหลาย อาทิเช่น Mind Mapping, ชาร์ตความรู้, การ์ตูนช่อง ฯลฯ
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น |
Week 6
แก่นเรื่องในการสรุปสัปดาห์ที่ 6 ของพี่ตุ๊กตา นักเรียนชั้น ม.1
- โครงสร้างโมเลกุลสารประเภทคาร์ โบไฮเดรต
- นิทานช่องสรุปความเข้าใจเกี่ ยวกับคาร์โบไฮเดรต
ทักษะที่เกิดขึ้น ครูวิเคราะห์จากตัวอย่างสรุปสั ปดาห์ของพี่ตุ๊กตา
- การเก็บรวบรวมข้อมูล : ข้อมูลที่คุณครูน้ำผึ้งมาอธิ บายเกี่ยวกับเชลล์จากลักษณะต่ างๆ เริ่มจากครูอธิบายลักษณะของตั วเห็บ เริ่มจากเชลล์จากใหญ่ไปหาเชลล์ ที่ขนาดเล็กที่สุกของสิ่งมีชีวิ ต(คาร์ก) พี่ตุ๊กตาได้เขียนเก็บรวบรวมข้ อมูลลงในสมุด เพื่อรวบรวมข้อมูลของความรู้ ทางวิทยาศาสตร์ตามความเข้ าใจของพี่ตุ๊กตา
- การนำเสนอข้อมูล : ระหว่างที่ครูเล่าความรู้ทางวิ
- การวางแผนการทำงาน : พี่ตุ๊กตาและเพื่อนๆ ร่วมเรียนรู้เกี่ยวกับกฎออกเตต (Octet rule) การเขียนโครงสร้างโมเลกุล พี่ตุ๊กตากับเพื่อนได้ออกแบบวิ ธีการเขียนโครงสร้างที่ หลากหลายลงในสมุดทดคิด วางแผนการออกแบบรูปร่างตามรูปร่ างลักษณะทางสูตรเคมีที่ กำหนดมาให้
- การทดลอง / การวิเคราะห์ข้อมูล / การแก้ปัญหา : ครูน้ำผึ้งให้พี่ตุ๊กตาและเพื่ อนๆ ทุกคน ทดลองต่อโครงสร้างโมเลกุลต่ามสู ตรทางเคมีที่ครูกำหนดให้ โดยครูมอบดินน้ำมันให้คู่ละ 4 ก้อน ต่อเป็นรูปร่างโมเลกุลต่างๆ ระหว่างที่ทำการทดลองพี่ตุ๊ กตาได้คิดวิเคราะห์ลักษณะของรู ปร่างต่างๆ ของโมเลกุลที่กำหนดให้ ได้คิดวิธีการแก้ปัญหาระหว่ างการทดลองอย่างต่อเนื่อง และร่วมกันกับเพื่อนๆ คิดวิธีการแก้ปัญหาที่หลากหลาย สอบถามความเข้าใจเพิ่มเติ มจากครูผู้สอนอย่างสม่ำเสมอ
* พี่ตุ๊กตาได้แก้ปัญหาเกี่ยวกั บการปลูกข้าวเนื่องจากสัปดาห์นี ้ฝนตกติดต่อกัน 2-3 วัน มีน้ำขังในท่อที่พี่ตุ๊กตาใช้ ปลูกข้าว จากข้อมูลที่เคยหามาพบว่าข้าวที ่แตกกอแล้ว เหมาะกับสภาพที่ท่อมีน้ำขังอยู่ แต่ข้าวของพี่ตุ๊กตาข้ าวแตกกอแล้ว 3 ต้น ยังไม่แตกกออีก 1 ต้น ก็เลยแก้ปัญหาโดยการตักน้ำจากท่ อออก ให้น้ำเหลือเพียงนิดเดียว เพื่อรอต้อข้าวอีก 1 ต้น แตกกอพร้องอีก 3 ต้นที่เหลือ
- การทำงานร่วมกัน : พี่ตุ๊กตาและเพื่ อนทำงานการทดลองร่วมกันกับเพื่ อนๆ คุณครู
- การให้เหตุผลและมีความคิดสร้ างสรรค์ : พี่ตุ๊กตาและเพื่อนๆ ชวนกันคุยการออกแบบโครงสร้างสู ตรโมเลกุลประต่างๆ ที่ครูกำหนดให้ และสร้างสรรค์การทดลองผ่านคิดน้ ำมัน บันทึกผลทุกขั้นตอนอย่างสร้ างสรรค์ คิดวิธีการทดลองใหม่ๆ ในการออกแบบรูปร่างโมเลกุ ลตามกฎออกเตต และการออกแบบชิ้นงานผ่านการ์ตู นช่องอย่างสร้างสรรค์ พี่ตุ๊กตาเล่าเรื่องผ่านตั วละครถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับข้ อมูลที่เรียนมาในสัปดาห์นี้ทั้ งหมดผ่านการ์ตูนช่องอย่างละเอี ยด โยงเข้าสู่ปฏิกิริยาทางเคมี
คุณลักษณะ : พี่ตุ๊กตามีความรับผิดชอบต่ อภาระงานที่ได้รับมอบหมาย ดูแลดินน้ำมันที่นำมาใช้ ในการทอดลอง ทำความสะอาดบริเวณที่ใช้ ทดลองออกแบบโครงสร้างโมเลกุ ลตามกฎออกเตตเมื่อใช้เสร็จเรี ยบร้อย
การปลูกข้าว
เด็กๆ พบปัญหาเกี่ยวกับการปลูกข้าAAR กับเด็กๆ ในครั้งนี้
- ข้าวเริ่มติดแล้ว แต่อยู่ๆ ข้าวใบก็เหลือและสุดท้ายราก
- บางคนดินแห้ง มีมด แมลงเข้ามาในท่อทำให้ข้าวบา
- มีเจ้าหอมนิลเข้ามาวิ่งเล่น
- ข้าวต้นโตมากแล้วแต่ยังไม่แ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น